Amyotrophic Lateral Sclerosis, ALS

อาการกล้ามเนื้อ
อ่อนแรง

เป็นโรคที่ไม่ได้เกิดกับกล้ามเนื้อโดยตรง แต่เกิดจากเซลล์ประสาทส่วนที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อเสื่อมสภาพหรือถูกทำลาย ทำให้กล้ามเนื้อไม่มีเซลล์ประสาทควบคุม จนทำให้เกิดเป็นอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรง

Amyotrophic Lateral Sclerosis, ALS

อาการกล้ามเนื้อ
อ่อนแรง

เป็นโรคที่ไม่ได้เกิดกับกล้ามเนื้อโดยตรง แต่เกิดจากเซลล์ประสาทส่วนที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อเสื่อมสภาพหรือถูกทำลาย ทำให้กล้ามเนื้อไม่มีเซลล์ประสาทควบคุม จนทำให้เกิดเป็นอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรง

แชร์ประสบการณ์จริงจากคนไข้ที่เข้ารับการรักษา

ALS กับโรค MG
แตกต่างกันอย่างไร?

โรค MG (Myasthenia Gravis) เป็นโรคที่ส่งผลให้เกิดอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรง
เช่นเดียวกับโรค ALS แต่มีความแตกต่างกัน คือ โรค ALS
โรค MG (Myasthenia Gravis) เป็นโรคที่ส่งผลให้เกิดอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรง เช่นเดียวกับโรค ALS แต่มีความแตกต่างกัน คือ โรค ALS
เกิดจากเซลล์ประสาทส่วนที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อเสื่อมสภาพหรือถูกทำลาย แต่โรค MG เกิดจากภูมิคุ้มกันร่างกายทำงานผิดปกติ โดยอาการของโรค ALS มักจะเกิดบริเวณกล้ามเนื้อแขนขา มีการเกร็ง กระตุก หรือลีบเล็กลง ส่วนโรค MG มักจะเกิดบริเวณใบหน้า โดยเฉพาะดวงตา มักจะมีอาการมองไม่เห็นข้างใดข้างหนึ่ง หรือเห็นภาพซ้อน ตาเหล่ หนังตาตก ไม่สามารถยิ้มได้หรือยิ้มแล้วปากเบี้ยว

ในทางการแพทย์แผนจีน
ได้จัดโรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง (ALS)

อยู่ในกลุ่มอาการของกลุ่มอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรง หรือ เหว่ยเจิ้ง (痿证)

อีกทั้งอาการที่แสดงในระยะแรกๆนั้น กล้ามเนื้อบริเวณส่วนบน เช่น แขน มีอาการสั่น และกล้ามเนื้อบริเวณส่วนล่าง เช่น ขา มีอาการเกร็งและอัมพาตร่วมด้วย ดังนั้นจึงจัดอยู่ในกลุ่มอาการสั่น (颤病) และกลุ่มอาการกระตุก (痉病) ได้ โดยสาเหตุของโรคเกิดจากความพร่องเป็นหลัก หรือผสมระหว่างพร่องกับแกร่ง โดยกลุ่มอาการพร่อง ส่วนใหญ่เป็นความพร่องของม้าม ไต ปอด ตับ และกลุ่มอาการแกร่ง เกิดจากเสมหะติดขัด ความชื้น ความร้อน ได้รับสารพิษ และยินหยางถูกทำลาย โดยการรักษาตามศาสตร์แพทย์แผนจีน จะเน้นการฟื้นฟูการทำงานของระบบประสาท และกระตุ้นการทำงานของกล้ามเนื้อให้กลับมาปกติ เป็นหลัก

รีวิว

Care Close To Home
" เพราะทุกคนคือคนในครอบครัว "
ปณิธานที่ทางคลินิกยึดมั่นในการดูแลคนไข้เสมือนคนในครอบครัว
ปณิธานที่ทางคลินิกยึดมั่น
ในการดูแลคนไข้เสมือนคนในครอบครัว